บทเรียน ล้ำค่า มาตรา 7 ‘คณะสงฆ์’ กลัดกระดุมผิด
มติ “คณะกรรมการกฤษฎีกา” ในการตีความมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2535 ครั้งนี้
ทรง “ความหมาย” และมี “ความสำคัญ”
ไม่ว่าจะมองในแง่ของการบริหารจัดการในเรื่อง “ศาสนจักร” ไม่ว่าจะมองในแง่ของการบริหารจัดการในเรื่อง “การเมือง”
1 เท่ากับยืนยันกระบวนการของ “มหาเถรสมาคม” ถูกต้อง
ขณะเดียวกัน 1 ซึ่งสำคัญเป็นอย่างมาก เท่ากับชี้ให้เห็นอย่างเที่ยงธรรมว่า...
ความพยายามในการยับยั้งกระบวนการของ “มหาเถรสมาคม” มีความผิดพลาด มีจุดบกพร่อง
ผิดพลาด บกพร่องตรงไหนต้อง “พิจารณา”
1. พิจารณาหาสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไรจึงทำให้กระบวนการอันมาจาก “มหาเถรสมาคม” มีความบิดเบี้ยว เบี่ยงเบน
กระทั่งกลายเป็น “ปัญหา” เป็น “ความยุ่งยาก”
ขณะเดียวกัน 1 ซึ่งสำคัญ จำเป็นต้องตรวจสอบ ทบทวนว่าภาวะบิดเบี้ยว เบี่ยงเบน ในลักษณะเดียวกันนี้มีอยู่ในจุดใดบ้างอันก่อให้เกิดความยุ่งยากและกลายเป็นปัญหา
อย่างที่เรียกกันว่า กระบวนการ “กลัดกระดุม” ผิด
ความจริง กระบวนการของ “มหาเถรสมาคม” ดำเนินไปอย่างถูกถ้วนตามกฎหมาย และดำเนินไปอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
1 ยึดกุมหลักการแห่งมาตรา 7 พ.ร.บ.คณะสงฆ์
ยิ่งกว่านั้น หากลงลึกเข้าไปในรายละเอียดแห่งการดำเนินการก็จะประจักษ์ในความรอบคอบ รัดกุม เปี่ยมด้วยความสุขุม คัมภีรภาพ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มติในลักษณะอันเป็น “เอกฉันท์”
บทบาทและความหมายของมติเช่นนี้สะท้อนให้เห็นความเป็นหนึ่งเดียวภายในวงการสงฆ์
ผิดพลาด บกพร่องตรงไหนต้อง “พิจารณา”
1. พิจารณาหาสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไรจึงทำให้กระบวนการอันมาจาก “มหาเถรสมาคม” มีความบิดเบี้ยว เบี่ยงเบน
กระทั่งกลายเป็น “ปัญหา” เป็น “ความยุ่งยาก”
ขณะเดียวกัน 1 ซึ่งสำคัญ จำเป็นต้องตรวจสอบ ทบทวนว่าภาวะบิดเบี้ยว เบี่ยงเบน ในลักษณะเดียวกันนี้มีอยู่ในจุดใดบ้างอันก่อให้เกิดความยุ่งยากและกลายเป็นปัญหา
อย่างที่เรียกกันว่า กระบวนการ “กลัดกระดุม” ผิด
ความจริง กระบวนการของ “มหาเถรสมาคม” ดำเนินไปอย่างถูกถ้วนตามกฎหมาย และดำเนินไปอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
1 ยึดกุมหลักการแห่งมาตรา 7 พ.ร.บ.คณะสงฆ์
ยิ่งกว่านั้น หากลงลึกเข้าไปในรายละเอียดแห่งการดำเนินการก็จะประจักษ์ในความรอบคอบ รัดกุม เปี่ยมด้วยความสุขุม คัมภีรภาพ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มติในลักษณะอันเป็น “เอกฉันท์”
บทบาทและความหมายของมติเช่นนี้สะท้อนให้เห็นความเป็นหนึ่งเดียวภายในวงการสงฆ์
เพราะว่าทั้งสมเด็จซึ่งมาจากธรรมยุติกนิกาย ทั้งสมเด็จซึ่งมาจากมหานิกาย ที่ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการมหาเถรสมาคม ล้วนเห็นพ้องต้องกัน
นี่คือความสง่างามยิ่งที่ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปัญโญ) ได้รับการยอมรับนับถือภายในคณะสงฆ์
แต่แล้ว “มติ” ของ “มหาเถรสมาคม” ก็แทบจะไม่มี “ความหมาย”
กลายเป็นว่าหลังจากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) เตรียมนำเรื่องเสนอผ่านรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อปฏิบัติตามขั้นตอนของ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2535 กลับมิอาจคืบหน้าไปมากกว่านั้น
สะท้อนให้เห็นอย่างเด่นชัดยิ่งถึงท่าทีของ “รัฐบาล” ต่อความน่าเชื่อถือของ “มหาเถรสมาคม” ว่ามีมากน้อยเพียงใด
คำถามว่า “ทำไม” จึงเกิดขึ้น
มีการเคลื่อนไหวใน “กระสวน” เดียวกันกับที่เคยมีการเคลื่อนไหวในกรณีของอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ก่อน
เป็นสถานการณ์ “ก่อน” รัฐประหารเดือนกันยายน 2549
เป็นสถานการณ์อันคาบเกี่ยวและต่อเนื่องมายังสถานการณ์ “ก่อน” รัฐประหารเดือนพฤษภาคม 2557
“ขบวนการ” เดียวกัน “กลุ่มบุคคล” เดียวกัน
ผลก็คือ การสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใหม่ก็ต้อง “เลื่อน” ออกไปอย่างไม่มีกำหนด ประสานเข้ากับการตั้งเรื่อง กล่าวหา โจมตี มากมาย
กระบวนการเข้าทำนอง “หยิกเล็บ เจ็บเนื้อ”
ปัญหามิได้เกิดความข้องใจจากการตั้งแง่ในเรื่องระหว่างธรรมยุติกนิกายกับมหานิกายเท่านั้น
นี่คือความสง่างามยิ่งที่ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปัญโญ) ได้รับการยอมรับนับถือภายในคณะสงฆ์
แต่แล้ว “มติ” ของ “มหาเถรสมาคม” ก็แทบจะไม่มี “ความหมาย”
กลายเป็นว่าหลังจากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) เตรียมนำเรื่องเสนอผ่านรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อปฏิบัติตามขั้นตอนของ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2535 กลับมิอาจคืบหน้าไปมากกว่านั้น
สะท้อนให้เห็นอย่างเด่นชัดยิ่งถึงท่าทีของ “รัฐบาล” ต่อความน่าเชื่อถือของ “มหาเถรสมาคม” ว่ามีมากน้อยเพียงใด
คำถามว่า “ทำไม” จึงเกิดขึ้น
มีการเคลื่อนไหวใน “กระสวน” เดียวกันกับที่เคยมีการเคลื่อนไหวในกรณีของอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ก่อน
เป็นสถานการณ์ “ก่อน” รัฐประหารเดือนกันยายน 2549
เป็นสถานการณ์อันคาบเกี่ยวและต่อเนื่องมายังสถานการณ์ “ก่อน” รัฐประหารเดือนพฤษภาคม 2557
“ขบวนการ” เดียวกัน “กลุ่มบุคคล” เดียวกัน
ผลก็คือ การสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใหม่ก็ต้อง “เลื่อน” ออกไปอย่างไม่มีกำหนด ประสานเข้ากับการตั้งเรื่อง กล่าวหา โจมตี มากมาย
กระบวนการเข้าทำนอง “หยิกเล็บ เจ็บเนื้อ”
ปัญหามิได้เกิดความข้องใจจากการตั้งแง่ในเรื่องระหว่างธรรมยุติกนิกายกับมหานิกายเท่านั้น
หากยังเท่ากับเป็นการตั้งแง่ต่อตัว พ.ร.บ.คณะสงฆ์ และโดยเฉพาะต่อตัวสมเด็จพระราชาคณะซึ่งอยู่ในข่ายที่จะได้รับการเสนอชื่อเพื่อสถาปนาอีกด้วย
ตรวจสอบเมื่อใดก็จะพบกับ “ขบวนการ” เดิม และ “คนหน้าเดิม”
แทนที่จะช่วยให้ “คสช.” และ “รัฐบาล” สะสางปัญหาและความยุ่งยาก กลับกลายเป็นการสร้างปัญหาและความยุ่งยากเพิ่มเติม
เข้าลักษณะบานปลาย “ใหญ่” เบ้อเริ่มเทิ่ม
ไม่ว่าในพรมแดนว่าด้วยสมเด็จพระสังฆราช ไม่ว่าในพรมแดนว่าด้วยการทำประชามติ 7 สิงหาคม
ลองตรวจสอบลงไปภายในรายละเอียดก็จะพบบรรดา “สมิงพระรามอาสา” เข้ามาช่วย เข้ามาสนับสนุน แต่เอาเข้าจริงๆ แทนที่จะราบรื่น เรียบร้อย กลับมากด้วยอุปสรรค กลับมากด้วยปัญหา
ล้วนแล้วแต่ยืนยันอาการ “กลัดกระดุม” ผิดอย่างเด่นชัด
ตรวจสอบเมื่อใดก็จะพบกับ “ขบวนการ” เดิม และ “คนหน้าเดิม”
แทนที่จะช่วยให้ “คสช.” และ “รัฐบาล” สะสางปัญหาและความยุ่งยาก กลับกลายเป็นการสร้างปัญหาและความยุ่งยากเพิ่มเติม
เข้าลักษณะบานปลาย “ใหญ่” เบ้อเริ่มเทิ่ม
ไม่ว่าในพรมแดนว่าด้วยสมเด็จพระสังฆราช ไม่ว่าในพรมแดนว่าด้วยการทำประชามติ 7 สิงหาคม
ลองตรวจสอบลงไปภายในรายละเอียดก็จะพบบรรดา “สมิงพระรามอาสา” เข้ามาช่วย เข้ามาสนับสนุน แต่เอาเข้าจริงๆ แทนที่จะราบรื่น เรียบร้อย กลับมากด้วยอุปสรรค กลับมากด้วยปัญหา
ล้วนแล้วแต่ยืนยันอาการ “กลัดกระดุม” ผิดอย่างเด่นชัด
บทเรียน ล้ำค่า มาตรา 7 ‘คณะสงฆ์’ กลัดกระดุมผิด
Reviewed by bombom55
on
21:16
Rating:
หยุดดีกว่าไหมคะให้เป็นหน้าที่ของพระและเถรสมาคมให้ความเคารพท่าน
ตอบลบดีกว่าคะบ้านเมืองจะร่มเย็นเพราะเจ้าหน้าที่และประชาชน#เคารพพระรัตนตรัยและครอบครัวจะอยู่เย็นเป็นสุขทั่วโลกคะ#ขอนะคะ
..ไม่ใช่กลัดกระดุมผิดแน่นอน..เพราะ สบง จีวร สังฆาฏิ พระไม่มีกระดุมแม้แต่เม็ดเดียว
ตอบลบเหมือนที่กฤษฎีกาตีความ นายกเป็นแค่คนเดินสาส์นไม่มีหน้าที่ใดๆแม้แต่น้อยที่จะพิจารณา หรือกลั่นกรองพระนามเพื่อทูลเกล้า..กฎหมายมาตรา 7 เจียนไว้ชัด กฤษฎีกาก็รับรอง..ไม่มีกระดุมส้มหล่น **อย่าตะแบง **
..ไม่ใช่กลัดกระดุมผิดแน่นอน..เพราะ สบง จีวร สังฆาฏิ พระไม่มีกระดุมแม้แต่เม็ดเดียว
ตอบลบเหมือนที่กฤษฎีกาตีความ นายกเป็นแค่คนเดินสาส์นไม่มีหน้าที่ใดๆแม้แต่น้อยที่จะพิจารณา หรือกลั่นกรองพระนามเพื่อทูลเกล้า..กฎหมายมาตรา 7 เจียนไว้ชัด กฤษฎีกาก็รับรอง..ไม่มีกระดุมส้มหล่น **อย่าตะแบง **